Last updated: 29 ก.ย. 2566 | 967 จำนวนผู้เข้าชม |
เราอยากแสดงจุดยืน
ในการดำเนินโครงการชาวนาขายข้าว
และผลผลิตเอง ตามเจตจำนงค์
ของการก่อตั้งโมเดลอีไรซ์ฯ จากปี 2557
ให้ทั้งลูกค้าเก่า และใหม่ ได้ทราบอีกครั้ง
.
.
.
"Trust"
คือสิ่งที่พวกเราพยายามสร้างขึ้น
ระหว่าง ชาวนา/เกษตรกร-ทีมงาน-คนกิน
.
ความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน
ที่เราตัด"กลไกความเป็นพ่อค้า" หรือ
การเอาเปรียบซึ่งกันและกันออกไป
.
เกษตรกร ต้องมีความซื่อสัตย์
ยอมรับเงื่อนไขการทำงานของอีไรซ์ฯได้
.
ทีมงาน ดำเนินการตามวัตถุประสงค์
สร้างระบบการทำงาน-ส่งมอบสินค้า
ตรงตามสเปค ให้กับลูกค้า
.
.
ถ้าไม่ตรงสเปค ทำอย่างไร??
.
การส่งผลผลิต ที่ไม่ตรงเงื่อนไข
หรือสเปคที่ทีมงานกำหนดร่วมกัน
กับชาวนา หรือเกษตรกรแล้ว
.
เราจะมีการเคลม เปลี่ยน หรือ
ส่งให้ใหม่ เราทำแบบนี้
มาตั้งแต่เริ่มโครงการ
ดังที่ลูกค้าที่สนับสนุน ทั้งข้าว
มันเทศญี่ปุ่น หอมแดง กระเทียม
แตงโม รวมถึง ทุเรียน(ตามฤดูกาล)
.
.
ทำไมเราทำแบบนี้??
.
เราต้องการสร้างกลไก
การซื้อขายระหว่างเกษตรกรกับลูกค้า
โดยปราศจากการเอาเปรียบซึ่งกันและกัน
ตามปณิธาน ของการเป็นชาวนาขายข้าวเอง
ที่มา ชาวนาในโครงการได้อะไร
https://bit.ly/3duNS4s
.
.
.
"Benefit"
การได้ประโยชน์ร่วมกันจากโครงการ
ได้ทั้ง ชาวนา/ทีมงาน/คนกิน
.
ได้ขายในราคาที่ยุติธรรม
ได้สร้างกลไกการค้าของชาวนาเอง
ได้กินสินค้าที่มีคุณภาพสมราคา
.
.
.
"Call to action"
ตามศัพท์ของออนไลน์มาร์เก็ตติ้ง(Online marketing)
หมายถึงมีการขาย/ปิดการขาย/มีกิจกรรมการสั่งซื้อ
.
แต่ในความหมายของเรา
พอจะอธิบายความให้ลูกค้าใหม่เก่า
ฟังพอสังเขป เช่น
.
"เกษตรกร"
คนหรือกลุ่มคน ที่ไม่ซื่อสัตย์
เข้าร่วมโครงการเพราะหวังทำกำไร
จากช่องว่างที่เราตัดกลไกพ่อค้าออก
.
นอกจากต้องรับผิดชอบ
จากการส่งสินค้าไม่ได้ตามที่ตกลงกัน
ยังต้องรับผิดชอบต่อความเสียหาย
ที่เกิดจากความมักง่าย/โลภ ของตัวเองด้วย
.
มีเกษตรกรแบบนี้ในโครงการด้วยหรือ?
.
ตอนนี้มีอย่างน้อย 2 กลุ่มที่อยู่ระหว่าง
ดำเนินคดีทางแพ่ง หลังจากที่เราพยายาม
ช่วยเหลือทุกทาง มาตลอดหลายปี
.
.
"ทีมงาน"
สร้างระบบ ช่วยขับเคลื่อนเกษตรกร
สร้างเงื่อนไขการทำงาน รับประกัน
สร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าว่า
.
จะได้รับสินค้าคุณภาพดี
ปลอดภัย สมราคา ตามที่เราการันตี
.
หากผิดไปจากที่ตกลงกัน
ทีมงานของเรา ก็ต้องแก้ไข
ให้เป็นไปตามที่ตกลงซื้อขายกัน
.
ผมเชื่อว่า มีพ่อค้าแม่ค้า น้อยราย
ที่ตัดสินใจทำแบบที่เราทำ
เราเชื่อว่า มันคือ"ความยั่งยืน"
ที่จะสร้างให้เกิด trust-benefit-call to action
.
.
หลายท่านเคยแสดงความเห็น
ว่าเกษตรกร ชาวนาส่วนใหญ่
เห็นแก่ตัว เอาเปรียบ ทำให้ไม่น่าค้าขาย
หรือไม่น่าสนับสนุนเลย
.
อีไรซ์ฯ ผ่านช่วงเวลาเหล่านั้น
มาตลอด 5-6 ปี ที่ถูกเอาเปรียบ
ได้แต่พยายามอุดช่องโหว่
.
สร้างสิ่งที่พวกเราเชื่อว่าเกิดขึ้นได้
ไม่ใช่สังคมยูโทเปีย หรือในอุดมคติ
.
เกษตรกรบางกลุ่มที่ผ่านการร่วมงาน
สามารถส่งสินค้าวางขายบนห้าง
ตลอดจนสามารถส่งไป ตปท.ได้เอง ก็มีแล้ว
.
.
.
สิ่งที่ผมพิมพ์มายืดยาว
จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้
.
ถ้าเราไม่มีชาวนา/เกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการ
ถ้าเราไม่มีทีมงาน ที่กล้าคิดนอกกรอบแล้วลงมือทำ
และ
ถ้าเราไม่มีลูกค้า ที่เชื่อมั่น
ช่วย สนับสนุนพวกเรา
มาโดยตลอดระยะเวลา 5-6 ปี
.
สิ่งที่พวกเราทำ เลยจุดที่เรียกว่า"ยาก"
มาไกลพอสมควรแล้ว
สิ่งที่ทำให้ขับเคลื่อนต่อไปได้
.
นอกจากใจที่มุ่งหวัง ให้เกิดความสำเร็จ
ของโครงการชาวนาขายข้าวและผลผลิต
คือสร้างความเป็นรูปธรรม ให้โครงการ
สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง
.
เกษตรกรมีรายได้ ที่มั่นคง
นอกจากการเป็นหนี้ธนาคาร
ที่ปลูกอะไร ขายอะไร ก็ไม่พอใช้หนี้สักที
#ชาวนาขายข้าวเอง
#ข้าวหอมมะลิจากทุ่งกุลาร้องไห้
#พืชหลังนาอีไรซ์ฯ
สั่งสินค้า http://bit.ly/2m6Rdkq
หมายเหตุ ขออนุญาต แค็ปฯบทสนทนา
จากลูกค้ากลุ่มทุเรียนภูเขาไฟมาให้อ่าน
มีทั้งผลบวก และผลลบ
.
เป็นงานในหน้าที่ของพวกเรา
ที่ต้องนำไปปรับปรุงเกษตรกรต่อไปแอดมินอยากแสดงจุดยืน
ในการดำเนินโครงการชาวนาขายข้าว
และผลผลิตเอง ตามเจตจำนงค์
ของการก่อตั้งโมเดลอีไรซ์ฯ จากปี 2557
ให้ทั้งลูกค้าเก่า และใหม่ ได้ทราบอีกครั้ง
.
.
.
"Trust"
คือสิ่งที่พวกเราพยายามสร้างขึ้น
ระหว่าง ชาวนา/เกษตรกร-ทีมงาน-คนกิน
.
ความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน
ที่เราตัด"กลไกความเป็นพ่อค้า" หรือ
การเอาเปรียบซึ่งกันและกันออกไป
.
เกษตรกร ต้องมีความซื่อสัตย์
ยอมรับเงื่อนไขการทำงานของอีไรซ์ฯได้
.
ทีมงาน ดำเนินการตามวัตถุประสงค์
สร้างระบบการทำงาน-ส่งมอบสินค้า
ตรงตามสเปค ให้กับลูกค้า
.
.
ถ้าไม่ตรงสเปค ทำอย่างไร??
.
การส่งผลผลิต ที่ไม่ตรงเงื่อนไข
หรือสเปคที่ทีมงานกำหนดร่วมกัน
กับชาวนา หรือเกษตรกรแล้ว
.
เราจะมีการเคลม เปลี่ยน หรือ
ส่งให้ใหม่ เราทำแบบนี้
มาตั้งแต่เริ่มโครงการ
ดังที่ลูกค้าที่สนับสนุน ทั้งข้าว
มันเทศญี่ปุ่น หอมแดง กระเทียม
แตงโม รวมถึง ทุเรียน(ตามฤดูกาล)
.
.
ทำไมเราทำแบบนี้??
.
เราต้องการสร้างกลไก
การซื้อขายระหว่างเกษตรกรกับลูกค้า
โดยปราศจากการเอาเปรียบซึ่งกันและกัน
ตามปณิธาน ของการเป็นชาวนาขายข้าวเอง
ที่มา ชาวนาในโครงการได้อะไร
https://bit.ly/3duNS4s
.
.
.
"Benefit"
การได้ประโยชน์ร่วมกันจากโครงการ
ได้ทั้ง ชาวนา/ทีมงาน/คนกิน
.
ได้ขายในราคาที่ยุติธรรม
ได้สร้างกลไกการค้าของชาวนาเอง
ได้กินสินค้าที่มีคุณภาพสมราคา
.
.
.
"Call to action"
ตามศัพท์ของออนไลน์มาร์เก็ตติ้ง(Online marketing)
หมายถึงมีการขาย/ปิดการขาย/มีกิจกรรมการสั่งซื้อ
.
แต่ในความหมายของเรา
พอจะอธิบายความให้ลูกค้าใหม่เก่า
ฟังพอสังเขป เช่น
.
"เกษตรกร"
คนหรือกลุ่มคน ที่ไม่ซื่อสัตย์
เข้าร่วมโครงการเพราะหวังทำกำไร
จากช่องว่างที่เราตัดกลไกพ่อค้าออก
.
นอกจากต้องรับผิดชอบ
จากการส่งสินค้าไม่ได้ตามที่ตกลงกัน
ยังต้องรับผิดชอบต่อความเสียหาย
ที่เกิดจากความมักง่าย/โลภ ของตัวเองด้วย
.
มีเกษตรกรแบบนี้ในโครงการด้วยหรือ?
.
ตอนนี้มีอย่างน้อย 2 กลุ่มที่อยู่ระหว่าง
ดำเนินคดีทางแพ่ง หลังจากที่เราพยายาม
ช่วยเหลือทุกทาง มาตลอดหลายปี
.
.
"ทีมงาน"
สร้างระบบ ช่วยขับเคลื่อนเกษตรกร
สร้างเงื่อนไขการทำงาน รับประกัน
สร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าว่า
.
จะได้รับสินค้าคุณภาพดี
ปลอดภัย สมราคา ตามที่เราการันตี
.
หากผิดไปจากที่ตกลงกัน
ทีมงานของเรา ก็ต้องแก้ไข
ให้เป็นไปตามที่ตกลงซื้อขายกัน
.
ผมเชื่อว่า มีพ่อค้าแม่ค้า น้อยราย
ที่ตัดสินใจทำแบบที่เราทำ
เราเชื่อว่า มันคือ"ความยั่งยืน"
ที่จะสร้างให้เกิด trust-benefit-call to action
.
.
หลายท่านเคยแสดงความเห็น
ว่าเกษตรกร ชาวนาส่วนใหญ่
เห็นแก่ตัว เอาเปรียบ ทำให้ไม่น่าค้าขาย
หรือไม่น่าสนับสนุนเลย
.
อีไรซ์ฯ ผ่านช่วงเวลาเหล่านั้น
มาตลอด 5-6 ปี ที่ถูกเอาเปรียบ
ได้แต่พยายามอุดช่องโหว่
.
สร้างสิ่งที่พวกเราเชื่อว่าเกิดขึ้นได้
ไม่ใช่สังคมยูโทเปีย หรือในอุดมคติ
.
เกษตรกรบางกลุ่มที่ผ่านการร่วมงาน
สามารถส่งสินค้าวางขายบนห้าง
ตลอดจนสามารถส่งไป ตปท.ได้เอง ก็มีแล้ว
.
.
.
สิ่งที่ผมพิมพ์มายืดยาว
จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้
.
ถ้าเราไม่มีชาวนา/เกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการ
ถ้าเราไม่มีทีมงาน ที่กล้าคิดนอกกรอบแล้วลงมือทำ
และ
ถ้าเราไม่มีลูกค้า ที่เชื่อมั่น
ช่วย สนับสนุนพวกเรา
มาโดยตลอดระยะเวลา 5-6 ปี
.
สิ่งที่พวกเราทำ เลยจุดที่เรียกว่า"ยาก"
มาไกลพอสมควรแล้ว
สิ่งที่ทำให้ขับเคลื่อนต่อไปได้
.
นอกจากใจที่มุ่งหวัง ให้เกิดความสำเร็จ
ของโครงการชาวนาขายข้าวและผลผลิต
คือสร้างความเป็นรูปธรรม ให้โครงการ
สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง
.
เกษตรกรมีรายได้ ที่มั่นคง
นอกจากการเป็นหนี้ธนาคาร
ที่ปลูกอะไร ขายอะไร ก็ไม่พอใช้หนี้สักที
#ชาวนาขายข้าวเอง
#ข้าวหอมมะลิจากทุ่งกุลาร้องไห้
#พืชหลังนาอีไรซ์ฯ
เป็นงานในหน้าที่ของพวกเรา
ที่ต้องนำไปปรับปรุงเกษตรกรต่อไป
28 ม.ค. 2564
30 ต.ค. 2567
28 ธ.ค. 2566